โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนา
โครงการกังหันน้ำชัยพัฒนา
- 1. โครงการกังหันน้าชัยพัฒนา ชื่อน.ส. นฤมล หาเรือนทรง ชันม.4/7 เลขที่ 7
- 2. สาเหตุ , ปัญหา• ปัญหาเรื่องน้้าเสียมีประวัติความเป็นมาควบคู่ไปกับความเจริญเติบโตของชุมชน กล่าวคือ เมื่อครั้งประชากรยังน้อยและกระจัดกระจายก็ไม่เป็นปัญหาอะไรมากนัก ต่อมาเมื่อชุมชนเจริญเติบโตประชากรเพิ่มมากขึ้น ปัญหาเรื่องน้้าเสียก็ติดตามมา เป็นเงาตามตัว ทั้งนี้ เพราะว่าน้้าเสียเป็นผลิตผลอย่างหนึ่งในการด้าเนิน ชีวิตประจ้าวันของคน และนับวันน้้าเสียจะมีปริมาณมากขึ้นเป็นทวีคูณ และมีสาร ใหม่ ๆ แปลก ๆ ของผลิตภัณฑ์สมัยใหม่เจือปนอยู่ด้วย ซึ่งจะท้าให้น้าเสียเป็น ปัญหายุ่งยากมากขึ้นตามล้าดับในอนาคต
- 3. ปัญหาในประเทศไทย• ประเทศไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งแหล่งชุมชนแออัดและที่ตั้งบ้านเรือนอยู่ริมแหล่ง น้้าก้าลังประสบปัญหาภาวะน้้าเน่าเสียเช่นนี้ ซึ่งยิ่งนับวันจะมีความรุนแรงเป็น ทวีคูณ และส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมต่อส่วนรวมและเป็นภาระอันยิ่งใหญ่ใน ปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงห่วงใยต่อสุขภาพของประชาชนที่อาศัย อยู่ในแหล่งชุมชน ได้เสด็จพระราชด้าเนินทอดพระเนตรสภาพน้้าเสียในพื้นที่ หลาย ๆ แห่ง หลายครั้ง ทั้งในกรุงเทพฯ ปริมณฑล และต่างจังหวัด พร้อมทั้งได้ พระราชทานพระราชด้าริเรื่องการแก้ไขน้้าเน่าเสีย เริ่มด้วยการแก้ไขน้้าเสียรูปแบบ ง่าย ในช่วงแรกระหว่าง พ.ศ. 2527 ถึง พ.ศ.2530 โดยการใช้น้าที่มีคุณภาพดีช่วย บรรเทาน้้าเสียบ้าง ใช้วิธีกรองน้้าด้วยผักตบชวาบ้าง ซึ่งก็จะได้ผลเพียงระดับหนึ่ง เท่านั้น ต่อมาตั้งแต่ พ.ส.2531 เป็นต้นมา
- 4. กังหันน้้าชัยพัฒนา• พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงตระหนักถึงความรุนแรงของปัญหาที่ เกิดขึ้น และทรงห่วงใยต่อพสกนิกรที่ต้องเผชิญในเรื่องดังกล่าวเมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2531 ได้พระราชทานพระราชด้าริในการแก้ไขปัญหาน้้าเสีย ด้วย การใช้เครื่องกลเติมอากาศ โดยพระราชทานรูปแบบสิ่งประดิษฐ์ที่เรียบง่าย แต่มีประสิทธิภาพสูงในการบ้าบัดน้้าเสีย ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีในชื่อ กังหันน้้า ชัยพัฒนา และน้ามาใช้ในการปรับปรุงคุณภาพน้้าตามสถานที่ต่างๆ ทั่วทุก ภูมิภาค
- 5. • ต่อมาในช่วงปี พ.ศ.2531 เป็นต้นมา สภาพความเน่าเสียของน้้าบริเวณต่างๆ มีอัตราแนวโน้มรุนแรงมากยิ่งขึ้น การใช้วิธีธรรมชาติไม่อาจบรรเทาความ เน่าเสียของน้้าอย่างมีประสิทธิภาพเท่าที่ควร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จึงขอพระราชทานพระราชด้าริให้ประดิษฐ์เครื่องกลเติมอากาศแบบ ประหยัดค่าใช้จ่าย สามารถผลิตได้เองในประเทศ ซึ่งมีรูปแบบ "ไทยท้าไทย ใช้"โดยทรงได้แนวทางจาก "หลุก" ซึ่งเป็นอุปกรณ์วิดน้้าเข้านาอันเป็นภูมิ ปัญญาชาวบ้านเป็นจุดคิดค้นเบื้องต้น และทรงมุ่งหวังที่จะช่วยแบ่งเบาภาระ ของรัฐบาลในการบรรเทาน้้าเน่าเสียอีกทางหนึ่งด้วย การนี้ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มูลนิธิชัยพัฒนาสนับสนุน งบประมาณ เพื่อการศึกษาและวิจัยสิ่งประดิษฐ์ใหม่นี้ โดยด้าเนินการ จัดสร้างเครื่องมือบ้าบัดน้้าเสียร่วมกับกรมชลประทาน ซึ่งได้มีการผลิต เครื่องกลเติมอากาศขึ้นในเวลาต่อมา และรู้จักกันแพร่หลายทั่วไประเทศใน ปัจจุบันคือ "กังหันน้้าชัยพัฒนา"
- 6. การศึกษา วิจัย และพัฒนา• กรมชลประทานรับสนองพระราชด้าริในการศึกษาและสร้างต้นแบบ โดยดัดแปลง เครื่องสูบน้้าพลังน้้าจาก "กังหันน้้าสูบน้้าทุ่นลอย" เปลี่ยนเป็น "กังหันน้้าชัยพัฒนา" และได้น้าไปติดตั้งใช้ในกิจกรรมบ้าบัดน้้าเสียที่โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า เมื่อ วันที่ 1 พฤษภาคม 2532 และที่วัดบวรนิเวศวิหาร เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2532 เพื่อ ศึกษา วิจัย และพัฒนาระบบบ้าบัดน้้าเสีย เป็นระยะเวลา 4-5 ปี
- 7. คุณสมบัติ• กังหันน้้าชัยพัฒนา หรือเครื่องกลเติมอากาศที่ผิวน้้าหมุนช้าแบบทุ่นลอย (Chaipattana Low Speed Surface Aerator) ซึ่งเป็น Model RX-2 หมายถึง Royal Experiment แบบที่ 2 มีคุณสมบัติในการถ่ายเท ออกซิเจนได้สูงถึง 1.2 กิโลกรัมของออกซิเจน/แรงม้า/ชั่วโมง สามารถน้าไปใช้ใน กิจกรรมปรับปรุงคุณภาพน้้าได้อย่างอเนกประสงค์ ติดตั้งง่าย เหมาะส้าหรับใช้ใน แหล่งน้้าธรรมชาติ ได้แก่ สระน้้า หนองน้้า คลอง บึง ล้าห้วย ฯลฯ ที่มีความลึก มากกว่า 1.00 เมตร และมีความกว้างมากกว่า 3.00 เมตร
- 8. หลักการท้างาน• เครื่องกลเติมอากาศ "กังหันน้้าชัยพัฒนา" แบบทุ่นลอย สามารถปรับตัวขึ้นลงได้ ตามระดับขึ้นลงของน้้า ส่วนประกอบส้าคัญ ได้แก่ โครงกังหันรูป 12 เหลี่ยม ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2.00 เมตร มีซองน้้าขนาดบรรจุ 110 ลิตร ติดตั้งโดยรอบ จ้านวน ซอง เจาะรูซองน้้าพรุน เพื่อให้น้าไหลกระจายเป็นฝอย ซองน้้านี้จะถูก ขับเคลื่อนให้หมุนโดยรอบ ด้วยมอเตอร์ไฟฟ้าขนาด 2 แรงม้า ระบบแรงดัน 380 โวลต์ 3 เฟส 50 เฮิร์ท ผ่านระบบส่งก้าลังด้วยเฟืองเกียร์ทอรอบและ/หรือ จาน โซ่ ซึ่งจะท้าให้การหมุนเคลื่อนที่ของซองน้้าวิดตักน้้าด้วยความเร็ว 56รอบ/นาที สามารถวิดน้้าลึกลงไปใต้ผิวน้้า ประมาณ 0.50 เมตร ยกน้้าขึ้นไปสาดกระจายเป็น ฝอยเหนือผิวน้้าด้วยความสูงประมาณ 1.00 เมตร ท้าให้มีพื้นที่ผิวสัมผัสระหว่างน้้า กับอากาศกว้างขวางมากขึ้น
- 9. ประโยชน์ของกังหันน้้าชัยพัฒนา• กังหันน้้าชัยพัฒนาได้น้ามาติดตั้งใช้งานกับระบบบ้าบัดน้้าเสียตามสถานที่ ต่างๆ ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2532 และได้มีการปรับปรุงและพัฒนาอยู่ ตลอดเวลาเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่จะให้มีการบ้าบัดน้้าเสียอย่างมี ประสิทธิภาพ สะดวกในการใช้งาน ประหยัดค่าใช้จ่าย และบ้ารุงรักษาได้ง่าย ตลอดจนมีอายุการใช้งานที่ยาวนาน• การบ้าบัดมลพิษในน้้าด้วยการใช้เครื่องกลเติมอากาศ กังหันน้าชัยพัฒนา ได้ผลดีเป็นที่น่าพอใจ ท้าให้น้าใสสะอาดขึ้น ลดกลิ่นเหม็นลงได้มากและมี ปริมาณออกซิเจนในน้้าเพิ่มขึ้น สัตว์น้าสามารถอยู่อาศัยได้อย่างปลอดภัย และสามารถบ้าบัดความสกปรกในรูปของมวลสารต่างๆ ให้ลดต่้าลง ได้ตาม เกณฑ์มาตรฐานที่ก้าหนด
- 10. • เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2536 เครื่องกลเติมอากาศ กังหันน้าชัยพัฒนา ได้รับ การพิจารณาและทูลเกล้าฯ ถวายสิทธิบัตรในพระปรมาภิไธย นับเป็นสิ่งประดิษฐ์ เครื่องกลเติมอากาศเครื่องที่ 9 ของโลกที่ได้รับสิทธิบัตร และเป็นครั้งแรกที่ได้มี การรับจดทะเบียนและออกสิทธิบัตรให้แก่พระบรมราชวงศ์ด้วย จึงนับได้ว่าเป็น สิทธิบัตรในพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริย์พระองค์แรกใน ประวัติศาสตร์ชาติไทยและเป็นครังแรกของโลก
- 11. การวิจัยเพื่อประดิษฐ์เครืองกลเติมอากาศ 9 รูปแบบ ่• เครื่องกลเติมอากาศระบบเป่าอากาศลงไปใต้น้าและกระจายฟอง Chaipattana Aerator, Model RX-1• เครื่องกลเติมอากาศที่ผิวน้้าแบบหมุนช้า หรือ "กังหันน้้าชัยพัฒนา" Chaipattana Aerator, Model RX-2• เครื่องกลเติมอากาศระบบเป่าอากาศหมุนใต้น้า หรือ "ชัยพัฒนาซุปเปอร์ฟองแอร์" Chaipattana Aerator, Model RX-3• เครื่องกลเติมอากาศแรงดันน้้า หรือ "ชัยพัฒนาเวนจูร" Chaipattana Aerator, Model RX-4 ี่• เครื่องกลเติมอากาศระบบอัดและดูดอากาศลงใต้น้า หรือ "ชัยพัฒนาแอร์เจท Chaipattana Aerator, Model RX-5• เครื่องกลเติมอากาศแบบตีน้าสัมผัสอากาศ หรือ "เครื่องตีน้าชัยพัฒนา" Chaipattana Aerator, Model RX-6• เครื่องกลเติมอากาศแบบดูดและอัดน้้าลงไปที่ใต้ผิวน้้า หรือ "ชัยพัฒนาไฮโดรแอร์" Chaipattana Aerator, Model RX-7• เครื่องมือจับเกาะจุลินทรีย์ หรือ "ชัยพัฒนาไบโอ" Chaipattana Bio-Filter, Model RX-8• เครื่องกลเติมอากาศแบบกระจายน้้าสัมผัสอากาศ หรือ "น้้าพุชัยพัฒนา" Chaipattana Aerator, Model RX-9
- 12. พระราชด้าริ• เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2531 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทาน รูปแบบและพระราชด้าริ เรื่องการแก้ไขปัญหาน้้าเสีย โดยการเติมออกซิเจนในน้้า มีสาระส้าคัญ คือ การเติมอากาศลงในน้้าเสีย มี 2 วิธีวิธีหนึ่ง ใช้อากาศอัดเข้าไปตามท่อเป่าลง ไปใต้ผิวน้้าแบบกระจายฟองและอีกวิธีหนึ่ง น่าจะกระท้าได้โดยกังหันวิดน้้า วิดตัก ขึ้นไปบนผิวน้้า แล้วปล่อยให้ตกลงไปยังผิวน้้าตามเดิม โดยที่กังหันน้้าดังกล่าวจะ หมุนช้า ด้วยก้าลังของมอเตอร์ไฟฟ้า ขนาดเล็กไม่เกิน 2 แรงม้า หรืออาจจะใช้พลัง น้้าไหลก็ได้ จึงสมควรพิจารณาสร้างต้นแบบ แล้วน้าไปติดตั้งทดลองใช้บ้าบัดน้้า เสียที่ภายในบริเวณโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า และวัดบวรนิเวศวิหาร
- 13. จัดท้าโดยนางสาวนฤมล หาเรือนทรง ชั้น ม.4/7 เลขที่ 7
ที่มา: http://www.slideshare.net/namtoey/ss-15583360
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น